บทความปี : ทั้งหมด | 2560 | 2558 | 2557 | 2556 | 2555 | 2554 | 2553 | 2552 | 2551 | 2550 | 2549 | 2548 | 2547 | 2546 | 2545 |

Athena Pheromone ทางเลือกใหม่ของสาววัยทอง

เขียนโดย biology เมื่อ . หัวข้อ บทความ, บทความปี 2548

สุทธิพงษ์ พงษ์วร                     คงไม่มีสาวโสด (โดยไม่ตั้งใจ) วัย 40 คนไหนจะคาดคิด ว่าวิทยาศาสตร์จะทำให้โอกาสของความน่าจะเป็นในการมีชีวิตคู่เพิ่มขึ้นได้ขนาดนี้ จุดเริ่มต้นของงานวิจัยก็คือความสงสัย อันนี้ทุกคนก็รู้ๆ กันอยู่ จากนั้นความสงสัยนี่แหล่ะก็จะทำให้เกิดคำถาม และสำหรับคำถามของงานวิจัยในเรื่องนี้มันเริ่มมาจากความจริงที่ปรากฏต่อสายตาเราๆ ท่านๆ Read More.

 2,753 total views,  2 views today

ปรากฏการณ์เอลณีโญ และลานีญา

เขียนโดย biology เมื่อ . หัวข้อ บทความ, บทความปี 2548

ปรากฏการณ์เอลนีโญ (El Nino)                      มีหลักฐานแสดงว่าเอลนีโญได้เกิดขึ้นนานนับพันปีมาแล้ว แต่เริ่มมีความรุนแรงเพิ่มขึ้นในช่วงศตวรรษนี้เป็นผลให้ปรากฏการณ์นี้เป็นต้นเหตุให้เกิดผลกระทบต่อภูมิอากาศของโลกอย่างรุนแรง เช่น อเมริกาเหนือประสบกับสภาพอากาศที่ผิดปกติอย่างมากตลอดปี 2526 ออสเตรเลียประสบกับสภาวะความแห้งแล้งมากและเกิดไฟป่าเผาผลาญเสียหายประเทศใกล้ ๆ ทะเลทรายซาฮาราประสบกับความแห้งแล้งที่เลวร้ายมากที่สุดช่วงหนึ่ง และลมมรสุมในมหาสมุทรอินเดียอ่อนกำลังลงมาก ประมาณว่าความเสียหายที่เกิดขึ้นทั้งหมดอยู่ระหว่าง 8 Read More.

 25,854 total views,  16 views today

วิกฤต”แล้ง” วันน้ำโลก

เขียนโดย biology เมื่อ . หัวข้อ บทความ, บทความปี 2548

ประพัฒน์ ปัญญาชาติรักษ์                     วันที่ 22 มีนาคม เป็นวัน “น้ำ” โลก ผมจำได้ว่า เรื่อง “การขาดแคลนน้ำ” เป็นประเด็นปัญหาใหญ่ระดับโลกที่พูดกันมาตั้งแต่ปี 2545 ทั้งในที่ประชุม World Summit Read More.

 1,528 total views

มาทำความรู้จักกับตัวตุ่นกันเถอะ

เขียนโดย biology เมื่อ . หัวข้อ บทความ, บทความปี 2548

อรสา ชูสกุล                     วันหนึ่งในขณะที่นั่งทำงานอยู่ มีอาจารย์ท่านหนึ่งถามขึ้นมาว่า “มีใครรู้จักตุ่นหรือเปล่า” เพื่อน ๆ ในที่ทำงานก็ตอบไปต่าง ๆ นานา บ้างก็บอกว่ามันเหมือนตัวอ้น อาศัยอยู่ในดิน บ้างก็ว่าขาหน้าของมันใหญ่ ๆ Read More.

 20,640 total views,  12 views today

การแบ่งเซลล์ของโพรคาริโอต

เขียนโดย biology เมื่อ . หัวข้อ บทความ, บทความปี 2548

ธีรพัฒน์ เวชชประสิทธิ์                     จากคำถามที่ได้ถูกถามมาว่า เซลล์ที่เป็นโพรคาริโอตมีการแบ่งเซลล์แบบ ไมโตซิส หรือไม่ ทำให้เกิดอาการงุนงงแก่ผู้ที่ควรจะต้องตอบคำถามนี้ไปชั่วขณะ คำถามต่างๆเกิดขึ้นตามมาในหัวสมองของผู้ถูกถามมากมาย เช่น กระบวนการไมโตซิสเป็นอย่างไร พวกโพรคาริโอตมันแบ่งเซลล์แบบไหน ถ้าไม่เกิดการแบ่งเซลล์แบบไมโตซิสแล้วจะเพิ่มจำนวนเซลล์อย่างไร ????????แล้วอะไรคือเจ้า โพรคาริโอต หล่ะ ?????                      Read More.

 24,474 total views,  5 views today