เมื่อมนุษย์คุกคามดาวโลก

เขียนโดย biology เมื่อ . หัวข้อ บทความ, บทความปี 2548

                               สุทธิพงษ์  พงษ์วร               หลายคนคงจะเห็นกันจนภาพชินตา กับการพัฒนาและเจริญเติบโตทางวัตถุ ในเขตชุมชนเมือง ไม่ว่าจะเล็กหรือใหญ่ก็ตาม เราพัฒนาสิ่งต่างๆ มาเพื่อใช้เป็นเครื่องอำนวยความสะดวกสำหรับการใช้ชีวิตของเราในช่วงวงชีวิตหนึ่งๆ เท่านั้น เทคโนโลยีต่างๆ Read More.

 1,057 total views,  2 views today

หรือว่าถั่วเหลืองไขมันต่ำ จะทำให้ผู้บริโภคยอมรับพืช GMO ?

เขียนโดย biology เมื่อ . หัวข้อ บทความ, บทความปี 2548

  สุทธิพงษ์ พงษ์วร            ก่อนอื่นลองย้อนกลับไปอ่านข้อมูลเรื่อง Linolenic acid ในหนังสือ ชีววิทยา เล่ม 1 หน้าปกรูปมดก่อนดีไหมครับ หน้า 55-56 หรือจะเข้าไปอ่านได้ในhttp://en.wikipedia.org/wiki/Linolenic_acid พอสังเกตุดีๆ ก็จะพบว่ากรดไขมันชนิดนี้มีพันธะคู่มากถึง Read More.

 1,664 total views

เรื่องชวนฉงนของแมลง กะการฉายแสงไส้เดือนดิน

เขียนโดย biology เมื่อ . หัวข้อ บทความ, บทความปี 2548

              เก็บข่าวมาเล่าในครั้งนี้ มีข่าวแปลกๆ เกี่ยวกับเรื่องท่อลมของแมลงและการฉายแสงไส้เดือนดิน (Earthworm) ถ้าจะนำมาเล่าทีละเรื่องก็ดูจะเบาเกินไป เลยหยิบเอามาต่อกันซะ จะได้ดูมีเนื้อหาแน่นๆ หน่อย              เรื่องแรกที่นำมาเล่า มาบอกกล่าวกันก็เป็นเรื่องของเกี่ยวกับท่อลม หรือ spiracle ของแมลง Read More.

 2,002 total views

เรื่องของ “แอล-คาร์นิทีน”

เขียนโดย biology เมื่อ . หัวข้อ บทความ, บทความปี 2548

                            สุทธิพงษ์ พงษ์วร             ในสังคมวิทยาศาสตร์ เราควรจะสร้างและส่งเสริมนิสัยของความอยากรู้อยากเห็น อยากทำความเข้าใจ อยากค้นหามาให้ได้ซึ่งคำตอบให้กับคนในสังคม และในแต่ละวันก็จะมีเรื่องให้ชวนคิดชวนสงสัยมากมาย จนมากระทั่งวันหนึ่ง ในวันที่ได้ยินชื่อแอล-คาร์นิทีน (L-carnitine) เป็นครั้งแรก ครั้งแรกที่ได้ยินก็มาจากสื่อโฆษณา ทำให้เกิดความสงสัยขึ้นมาในทันทีหลังจากที่ดูสื่อโฆษณานั้นจบ Read More.

 7,320 total views,  7 views today

Athena Pheromone ทางเลือกใหม่ของสาววัยทอง

เขียนโดย biology เมื่อ . หัวข้อ บทความ, บทความปี 2548

สุทธิพงษ์ พงษ์วร                     คงไม่มีสาวโสด (โดยไม่ตั้งใจ) วัย 40 คนไหนจะคาดคิด ว่าวิทยาศาสตร์จะทำให้โอกาสของความน่าจะเป็นในการมีชีวิตคู่เพิ่มขึ้นได้ขนาดนี้ จุดเริ่มต้นของงานวิจัยก็คือความสงสัย อันนี้ทุกคนก็รู้ๆ กันอยู่ จากนั้นความสงสัยนี่แหล่ะก็จะทำให้เกิดคำถาม และสำหรับคำถามของงานวิจัยในเรื่องนี้มันเริ่มมาจากความจริงที่ปรากฏต่อสายตาเราๆ ท่านๆ Read More.

 2,745 total views