ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ กับงานที่รักของเกรเกอร์ เมนเดล

เขียนโดย biology เมื่อ . หัวข้อ ชีววิทยา, บทความปี 2558

ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ กับงานที่รักของเกรเกอร์ เมนเดล

(The Nature of Science in the Passionate Work of Gregor Mendel)

บทนำ

          ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่เราศึกษาอยู่ในปัจจุบัน ไม่ใช่ความรู้ที่เกิดขึ้นเพียงชั่วอายุของคนคนหนึ่ง แต่เกิดจากการสั่งสม การเปลี่ยนแปลง ความพยายาม ความคิดสร้างสรรค์หรือแม้แต่ความบังเอิญที่อาจเกิดขึ้นในอดีต แม้นักวิทยาศาสตร์ในฐานะบุคคลหนึ่งในสังคมจะมีเรื่องราวชีวิตไม่ต่างจากคนธรรมดาทั่วไป แต่ในความธรรมดานี้ นักวิทยาศาสตร์มีเรื่องราวที่สะท้อนธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ (Nature of Science, NOS) ซึ่งธรรมชาติของวิทยาศาสตร์คือแนวคิดของการได้มาซึ่งความรู้และลักษณะเฉพาะของวิทยาศาสตร์ เราสามารถเรียนรู้วิทยาศาสตร์ผ่านประวัติและการทำงานของนักวิทยาศาสตร์ได้ เรื่องราวของเกรเกอร์ เมนเดล เป็นอีกตัวอย่างหนึ่งของการใช้ชีวิตและการทำงานของนักวิทยาศาสตร์ที่สอดแทรกความเข้าใจในธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ได้เป็นอย่างดี ในบทความนี้จะกล่าวถึงประวัติของเมนเดลตั้งแต่อดีตที่เรายังไม่รู้คำตอบว่า “ลูกเกิดมามีลักษณะเหมือนพ่อกับแม่ได้อย่างไร”และจะมีจุด “NOS STOP” หยุดให้ได้ทบทวนกันว่าเรื่องราวในแต่ละช่วงชีวิตของเมนเดลสะท้อนธรรมชาติของวิทยาศาสตร์อย่างไร   

Timeline

Capture1Capture2

Capture3

Capture4

Capture5

                          capture6

ที่มา ผลการทดลองของเมนเดลในรุ่น F2 http://lib.dr.iastate.edu/cgi/viewcontent.cgi?article=4640&context=etd
Capture7
 

              เอกสารอ้างอิง

Fairbanks, D.J.& Rytting, B. (2001). Mendelian Controversies: A Botanical and Historical Review. American Journal of Botany, 88(5), 737-752., p. 739

Lederman, N.G. (1999). Teachers’ understanding of the nature of science and classroom practice: Factors that facilitate or impede the relationship. Journal of Research in  Science Teaching, 36, 916-929.

              McComas, W. (2008). Seeking historical examples to illustrate key aspects of the nature of science. Science & Education, 17, 249-263.

Reid-Smith . A. (2013). "Historical short stories as nature of science instruction in secondary science classrooms: Science teachers'implementation and students' reactions" Graduate Theses and Dissertations. Paper 13633., p. 239-243

ที่มาภาพประกอบ

Joseph Koelreuter http://www.bijenhouden.nl/phpbb/viewtopic.php?t=24296&p=133560

Gregor Mendel http://www.brainpickings.org/2013/10/22/science-tendernes-siddhartha-mukherjee/

                ผลการทดลองของเมนเดลในรุ่น F2 http://lib.dr.iastate.edu/cgi/viewcontent.cgi?article=4640&context=etd

 31,063 total views,  3 views today