เทโลเมียร์ (Telomere)

เขียนโดย biology เมื่อ . หัวข้อ ชีววิทยา, บทความปี 2560, วิทยาศาสตร์, เซลล์ (Cells)

ในสิ่งมีชีวิตประเภทยูแคริโอต (Eukaryote) เก็บข้อมูลทางพันธุกรรมในนิวเคลียส ไว้ในรูปแบบของดีเอ็นเอ (Deoxyribonucleic acid; DNA) ดีเอ็นเอสายยาว จะมีการจัดระเบียบโดยการพันกับโปรตีนฮิสโตน (Histone) เป็นสายโครมาทิน (Chromatin) และรวมเป็นโครงสร้างของโครโมโซม (Chromosome) ในการแบ่งเซลล์เพื่อสร้างเซลล์ใหม่ จำเป็นต้องมีการเพิ่มจำนวนสารพันธุกรรมหรือเรียกว่า การจำลองของดีเอ็นเอ (DNA replication) จากปัญหาที่ดีเอ็นเอไม่สามารถจำลองตัวเองของได้อย่างครบถ้วน หรือเรียกว่า “End-replication problem” ทำให้เกิดการสูญเสียดีเอ็นเอที่ปลายของโครโมโซมในทุก ๆ ครั้งที่มีการแบ่งเซลล์ ซึ่งในส่วนปลายนี้จะมีโครงสร้างและลำดับเบสที่จำเพาะเรียกว่า เทโลเมียร์ (Telomere)

 8,092 total views,  5 views today

เรณูกับการไขอดีต

เขียนโดย biology เมื่อ . หัวข้อ กลุ่มเป้าหมาย, ครู, คลังความรู้, ชีววิทยา, นักเรียน, บทความ, บทความปี 2560, บุคคลทั่วไป, วิทยาศาสตร์

การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมและสภาพภูมิอากาศในอดีต เกิดขึ้นควบคู่ไปกับการกำเนิดของโลกมาเป็นเวลานานหลายพันล้านปีมาแล้ว นักวิทยาศาสตร์ได้มีความพยายามที่จะค้นหาคำตอบเกี่ยวกับเรื่องราวในอดีตเมื่อหลายพันหลายล้านปีมาแล้ว เราจะทราบข้อมูลเหล่านี้ได้อย่างไร…

 8,068 total views,  3 views today

กระดูกสันหลังคด ความทรมานที่มองไม่เห็น

เขียนโดย biology เมื่อ . หัวข้อ ชีววิทยา, บทความปี 2560, บุคคลทั่วไป, วิทยาศาสตร์

โรคกระดูกสันหลังคดเป็นหนึ่งในกลุ่มอาการกระดูกสันหลังผิดปกติ (abnormal spinal curvatures) ซึ่งพบบ่อยในกระดูกสันหลังบริเวณช่วงอก (thoracic ) ซึ่งกระดูกสันหลังจะคดงอไปด้านซ้ายหรือด้านขวามากเกินกว่าปกติ คล้ายรูปตัว C นอกจากนี้ยังพบตำแหน่งการคดของกระดูกสันหลังที่บริเวณอื่น ๆ ได้แก่ กระดูกสันหลังส่วนคอ (cervical) กระดูกสันหลังส่วนเอว (lumbar) หรืออาจคดทั้งส่วนอกและส่วนเอวทำให้มองคล้ายรูปตัว S

 7,495 total views

มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)

เขียนโดย biology เมื่อ . หัวข้อ ข่าวสารต่างๆ, ครู, ชีววิทยา

การนำมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ……..

 16,020 total views

ความเครียดของพืช (plant stress)

เขียนโดย biology เมื่อ . หัวข้อ กลุ่มเป้าหมาย, ครู, ชีววิทยา, นักเรียน, บทความปี 2560, บุคคลทั่วไป, วิทยาศาสตร์, โครงสร้างและหน้าที่ของพืช (Plant structure and function)

เมื่อกล่าวถึงความเครียด (stress) ไม่เพียงแต่มนุษย์หรือสัตว์ที่มีระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อเท่านั้นที่สามารถเกิดสภาวะเครียดได้

 83,049 total views,  15 views today